หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ
- บริการ กบข. วงจรบนสมาร์ทโฟน ครบ ง่าย ในมือคุณ
- หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0411.1/ว 233 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2562 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการขอรับและการจ่ายบำเหน็จดำรงชีพสำหรับผู้รับบำนาญ ซึ่งมีอายุตั้งแต่เจ็ดสิบปีขึ้นไป พ.ศ. 2562
- infographic สรุปเกณฑ์การขอรับและตัวอย่างการจ่ายบำเหน็จดำรงชีพ
- หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ อว 64/00612 ลงวันที่ 26 มิถุนายน 2562 เรื่อง การขอรับบำเหน็จดำรงชีพสำหรับผู้รับบำนาญ ซึ่งมีอายุตั้งแต่เจ็ดสิบปีขึ้นไป (สำหรับผู้มีสิทธิได้รับ)
- หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ อว 64/00671 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2562 เรื่อง แจ้งหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการขอรับและการจ่ายบำเหน็จดำรงชีพสำหรับผู้รับบำนาญ ซึ่งมีอายุตั้งแต่เจ็ดสิบปีขึ้นไป พ.ศ. 2562
แบบฟอร์ม
- แบบฟอร์มขอรับบำเหน็จบำนาญ (กรณีลาออก, เกษีบณ)
- แบบหนังสือขอลาออกจากราชการ
- แบบคำขอเพิ่ม ปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลภาครัฐ
- แบบฟอร์มขอเปลี่ยนบัญชีธนาคาร
- บันทึกแจ้งขอให้ดำเนินการเกี่ยวกับการขอรับบำเหน็จบำนาญ
- 1.รายการเอกสารประกอบการขอรับบำเหน็จบำนาญ
- 2.แบบ 5300 (แบบขอรับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญฯ)
- 3.แบบ สรจ.3 (หนังสือรับรองและขอเบิกบำเหน็จดำรงชีพ)
- 4.แบบแจ้งลดหย่อนภาษีเงินได้สำหรับผู้รับผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญปกติ
- 5.แบบขอรับเงินคืนจากกองทุน กบข.(กรณีสมาชิกเป็นผู้ขอรับเงิน)
- 6.แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด
- 7.หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วยเหลือพิเศษสำหรับผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ
- 8.หนังสือรับรองการเป็นทายาท
- หนังสือรับรองและขอเบิกบำเหน็จดำรงชีพสำหรับผู้รับบำนาญซึ่งมีอายุตั้งแต่เจ็ดสิบปีขึ้นไป แบบไม่มีหนี้บำเหน็จค้ำประกัน (แบบ สรจ.3.1)
- หนังสือรับรองและขอเบิกบำเหน็จดำรงชีพสำหรับผู้รับบำนาญซึ่งมีอายุตั้งแต่เจ็ดสิบปีขึ้นไป แบบมีหนี้บำเหน็จค้ำประกัน (แบบ สรจ.3.2)
- แบบคำร้องขอรับหนังสือรับรองสิทธิในบำเหน็จตกทอดเพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ประกันการกู้เงิน
บำเหน็จบำนาญ/บำเหน็จดำรงชีพ
- บำเหน็จ เงินตอบแทนความชอบที่ได้รับราชการมาโดยรัฐจ่ายครั้งเดียว
- บำนาญ เงินตอบแทนความชอบที่ได้รับราชการมาโดยรัฐจ่ายเป็นรายเดือน
- บำเหน็จตกทอด
- มี 2 กรณี
- ข้าราชการตายระหว่างรับราชการ ถ้าความตายนั้นมิได้เกิดขึ้นเนื่องจากการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงของตนเองให้จ่ายเป็นเงินบำเหน็จตกทอด (เงินเดือนเดือนสุดท้ายคูณด้วยจำนวนปีเวลาราชการ) ให้แก่ทายาท ดังนี้
- บุตร ให้ได้รับ 2 ส่วน ถ้ามีบุตรตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปให้ได้รับ 3 ส่วน
- สามี/ภริยา ให้ได้รับ 1 ส่วน
- บิดา/มารดา หรือบิดา หรือมารดาที่มีชีวิตอยู่ ให้ได้รับ 1ส่วน
- กรณีไม่มีทายาทตามข้อใดข้อหนึ่ง ให้แบ่งแก่ทายาทที่เหลือ
- กรณีไม่มีทายาททั้งหมด ให้จ่ายแก่บุคคลซึ่งผู้ตายได้แสดงเจตนาไว้ต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด (ประกาศกระทรวงฯ การแสดงเจตนา)
- ผู้ได้รับบำนาญปกติตาย ให้จ่ายเป็นเงินบำเหน็จตกทอด จำนวน 30 เท่าของบำนาญ รายเดือนที่ได้รับ
ตารางสิทธิในการรับบำาเหน็จบำนาญ เมื่ออกจากราชการในกรณีต่าง ๆ
- ข้าราชการตายระหว่างรับราชการ ถ้าความตายนั้นมิได้เกิดขึ้นเนื่องจากการประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงของตนเองให้จ่ายเป็นเงินบำเหน็จตกทอด (เงินเดือนเดือนสุดท้ายคูณด้วยจำนวนปีเวลาราชการ) ให้แก่ทายาท ดังนี้
- ขั้นตอนและเอกสารประกอบการขอรับบำเหน็จตกทอด:“ขั้นตอนและเอกสารประกอบการขอรับบำเหน็จตกทอด”
- การแจ้งการเสียชีวิตของข้าราชการ และลูกจ้างสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อขอรับบำเหน็จตกทอด
- มี 2 กรณี
- ประกาศ/ระเบียบ
- หนังสือเวียน
- เรื่อง ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2554 ที่ กค 0406.5/ว 192
- เรื่อง แก้ไขปรับปรุงแบบหนังสือสัญญาการใช้เงินคืน (แบบ ชงค.) หนังสือสัญญาค้ำประกัน (แบบ คปก.) แบบแนบท้ายหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.5/ว 122 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2552 ที่ กค 0406.5/ว 9 ลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558
- วิธีปฏิบัติในการขอรับบำเหน็จตกทอด
- ขั้นตอนการเบิกบำเหน็จบำนาญ
(Visited 16,880 times, 1 visits today)