Loading...

Staff Appeals and Complaints

/Staff Appeals and Complaints
Staff Appeals and Complaints 2021-11-02T10:39:19+00:00

Right of Appeal and Grievance Procedure

Chulalongkorn University pays close attention to the professional well-being of staff.  The aim is for staff to have a happy working environment.  However, sometimes staff may feel they have been treated without fairness or transparency in any process, such as in their performance evaluations, non-renewal of operating contracts, termination of employment contract, disciplinary action, or they have any other grievances arising from management actions or orders.  If this is the case, the university has a staff appeals and grievance procedure designed to safeguard liberty and prevent abuse of university personnel.

"University employees have the right to petition the Board of Appeals to ensure fairness to employees."

The guidelines are as follows:

  • When a university employee has received unfair treatment or has a grievance to voice due to management actions or orders actions, they have the right to complain to the Human Resources Appeals and Complaints Committee (HRACC).
  • Once the HRACC has decided, the President, Division chiefs, or authorized members of the Board of Directors in such matters shall command and proceed accordingly.

Ref : In accordance with Chulalongkorn University Regulations on Personnel Management B.E. 2554 (2014) Section 11 Appeals and Complaints

Among academic staff, the university also promotes the right to appeal about the proposed review of academic work used to apply for higher academic positions, so as to support staff career advancement and contract renewal.  While the academic work of the staff member is undergoing the submission process, the following steps must be undertaken :

สิทธิในการอุทธรณ์และร้องทุกข์ของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใส่ใจ และดูแลการดำรงชีวิตของบุคคลกรในมหาวิทยาลัยทุกท่าน โดยมหาวิทยาลัยประสงค์ให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัยได้อย่างมีความสุข และหากเกิดเหตุใดที่ทำให้พนักงานเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือไม่โปร่งใส่ในกระบวนการดำเนินการใดๆ เช่น ไม่ได้รับความเป็นธรรมในการประเมินผลการปฏิบัติงาน การไม่ต่อสัญญาปฏิบัติงาน การเลิกสัญญาปฏิบัติงาน การถูกลงโทษทางวินัย หรือเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือมีความคับข้องใจ อันเนื่องมาจากการกระทำหรือคำสั่งของผู้บังคับบัญชา มหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมมาตรการเกี่ยวกับการอุทธรณ์ร้องทุกข์ของพนักงานมหาวิทยาลัยที่ชัดเจน เพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ และป้องกันการถูกละเมิดของบุคลากรในมหาวิทยาลัย

“ พนักงานมหาวิทยาลัยมีสิทธิ์ร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ร้องทุกข์เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่พนักงานได้ ”

โดยมีแนวทางการดำเนินการดังนี้

  • เมื่อพนักงานมหาวิทยาลันเป็นว่าต้นไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือมีความคับข้องใจ อันเนื่องมากจากการกระทำหรือคำสั่งของผู้บังคับบัญชา มีสิทธิร้องทุกข์ต่อ “คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์การบริหารงานบุคคล” ได้
  • เมื่อคณะกรรมการอุทธรณ์วินิจฉัยเป็นประการใดแล้ว ให้อธิการบดี หัวหน้าส่วนงาน หรือคณะกรรมการที่มีอำนาจหน้าที่ในเรื่องดังกล่าว สั่งการและดำเนินการให้เป็นไปตามนั้น

อ้างอิง : เป็นไปตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2557  หมวด 11 อุทธรณ์และร้องทุกข์

นอกจากนี้ ในกลุ่มบุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยยังส่งเสริมสิทธิ์ในการอุทธรณ์เกี่ยวกับการเสนอขอทบทวนผลงานทางวิชาการสำหรับยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น เพื่อสนับสนุนความเติบโตทางวิชาชีพของบุคคลากร และการต่อสัญญาการปฏิบัติงานพนักงานมหาวิทยาลัยในกรณีที่ผลงานของบุคลากรท่านนั้นอยู่ระหว่างการยื่นเสนอขอผลงานทางวิชาการ ซึ่งกระบวนการดำเนินการมีขั้นตอน ดังนี้

(Visited 782 times, 1 visits today)