EN TH
EN TH
Edit Template
สายปฏิบัติการ

สายปฏิบัติการ

ความก้าวหน้า ของพนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ

เส้นทางความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ

  1. การปรับเข้าสู่กระบอกเงินเดือนขั้นย่อย A B C 
  2. เส้นทางความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ สายบริหาร
  3. เส้นทางความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ สายเชี่ยวชาญ

1. การปรับเข้าสู่กระบอกเงินเดือนขั้นย่อย A B C

การปรับเข้าสู่กระบอกเงินเดือนขั้นย่อย A B C สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ ระดับ P7 – P9

หลักเกณฑ์การปรับกระบอกเงินเดือน สำหรับพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ ระดับ P7

 

P7A   >   P7B

P7B   >   P7C

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 

Fast Track : ไม่น้อยกว่า 2 ปี 

Middle Track : ไม่น้อยกว่า 3 ปี 

Normal Track : ไม่น้อยกว่า 4 ปี 

Fast Track : ไม่น้อยกว่า 3 ปี 

Middle Track : ไม่น้อยกว่า 4 ปี 

Normal Track : ไม่น้อยกว่า 5 ปี 

ผลการประเมินผล การปฏิบัติงานย้อนหลัง 

Fast Track : ดีเยี่ยม (2 ปีย้อนหลังติดต่อกัน) 

Middle Track : ดีมากขึ้นไป (3 ปีย้อนหลังติดต่อกัน) 

Normal Track : ดีขึ้นไป (4 ปีย้อนหลังติดต่อกัน) 

Fast Track : ดีเยี่ยม (3 ปีย้อนหลังติดต่อกัน) 

Middle Track : ดีมากขึ้นไป (4 ปีย้อนหลังติดต่อกัน) 

Normal Track : ดีขึ้นไป (5 ปีย้อนหลังติดต่อกัน) 

ผลคะแนนภาษาอังกฤษ 

CULI TEST/CU-TEP หรือ TOEIC ตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละ Track 

CULI TEST/CU-TEP หรือ TOEIC ตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละ Track 

ประสบการณ์การทำหน้าที่หัวหน้าในส่วนงาน/หน่วยงาน 

 

Leadership Profile 

ผลการประเมิน 4 สมรรถนะหลัก 

 

ระดับ 2 

2. เส้นทางความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ สายบริหาร

เส้นทางความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ สายบริหาร มี 2 รูปแบบ 

  1. หัวหน้ากลุ่มจากผู้ปฏิบัติงานภายในส่วนงาน 
  2. ผู้อำนวยการจากผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย 


โดยสามารถดูรายละเอียดได้ที่เมนู “การสรรหาภายใน

3. เส้นทางความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ สายเชี่ยวชาญ

เส้นทางความก้าวหน้าของบุคลากรสายปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 2 สาย ได้แก่ สายบริหาร และสายเชี่ยวชาญ โดยความก้าวหน้าในสายเชี่ยวชาญ ของพนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ มีรายละเอียด ดังนี้

ความก้าวหน้าในสายเชี่ยวชาญ ของพนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ

P7  :  ปฏิบัติการและวิชาชีพ

P6  :  เชี่ยวชาญ ต้น

P5  :  เชี่ยวชาญ กลาง

P4  :  เชี่ยวชาญ สูง

ขั้นตอนการเข้าสู่ตำแหน่งเชี่ยวชาญ

ส่วนงานจัดทำแผนกรอบอัตราเชี่ยวชาญ 5 ปี > ขออนุมัติกรอบอัตรากำลัง > ส่วนงานประเมินค่างาน > บุคลากรจัดทำผลงานที่ใช้ขอรับการประเมินกำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญ > บุคลากรยื่นผลงานขอรับการประเมินกำหนดตำแหน่ง ต่อเจ้าหน้าที่ส่วนงาน > คณะกรรมการพิจารณากำหนดตำแหน่ง

คุณสมบัติของบุคลากรสายปฏิบัติการเข้าสู่ตำแหน่งเชี่ยวชาญ

คุณสมบัติของผู้ขอกำหนดตำแหน่ง

ความเชี่ยวชาญ

P7 : ปฏิบัติการและวิชาชีพ

P6 : เชี่ยวชาญต้น

P5 : เชี่ยวชาญกลาง

P4 : เชี่ยวชาญสูง

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน

2 ปี (วุฒิป.เอก)

4 ปี (วุฒิป.โท)

6 ปี (วุฒิป.ตรี)

5 ปี (เชี่ยวชาญระดับต้น)

5 ปี (เชี่ยวชาญระดับกลาง)

 

ผลการประเมินการปฏิบัติงาน

3 ปีย้อนหลัง (ดี)

3 ปีย้อนหลัง (ดี)

3 ปีย้อนหลัง (ดี)

3 ปีย้อนหลัง (ดี)

3 ปีย้อนหลัง (ดี)

 

ผลงานที่ใช้ขอรับการประเมินกำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญ

ความเชี่ยวชาญ

ผลงานที่ใช้ขอรับการประเมินกำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญ

P4 : เชี่ยวชาญสูง

ผลงานที่เห็นถึงการพัฒนางานของมหาวิทยาลัย

ผลงานเชิงวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ 

อย่างน้อย 1เรื่อง

+

ผลงานวิจัย/หนังสือ ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในระดับชาติหรือนานาชาติ 

ในระดับดีมาก อย่างน้อย 2 เรื่อง หรือ ระดับดีเด่น อย่างน้อย 1 เรื่อง 

หรือ อนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร อย่างน้อย 1เรื่อง 

P5 : เชี่ยวชาญกลาง

ผลงานที่เห็นถึงการพัฒนางานของส่วนงาน 

ผลงานเชิงวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ 

อย่างน้อย 1เรื่อง 

+

ผลงานวิจัย/หนังสือ ระดับดีมาก อย่างน้อย 1 เรื่อง 

หรือ อนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร อย่างน้อย 1 เรื่อง 

P6 : เชี่ยวชาญต้น

ผลงานที่เห็นถึงการพัฒนางานในหน้าที่ของตนเอง 

ผลงานเชิงวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ 

อย่างน้อย 1เรื่อง 

+

ผลงานวิจัย/หนังสือ/คู่มือ ระดับดี อย่างน้อย 1 เรื่อง 

หรือ ใบรับรองด้านวิชาชีพ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 

แบบฟอร์มการยื่นผลงาน

  1. แบบประวัติส่วนตัวและผลงาน เพื่อเสนอขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญฯ (แบบ พนม.ชช.01)
  2. แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วมในผลงาน (แบบ พนม.ชช.02)
  3. แบบรับรองจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ (แบบ พนม.ชช.03)
  4. แบบสรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ฯ (แบบ พนม.ชช.04)
  5. ผลงานที่เสนอเข้าสู่ตำแหน่งตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด

คำถามที่พบบ่อย

เว็บไซต์ ... 

หรือติดต่อขอดูตัวอย่างได้ที่ กลุ่มภารกิจบริหารจัดการเส้นทางความก้าวหน้า ฝ่ายการวางแผนกลยุทธ์ทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนาองค์กร

Copyright © 2025 Office of Human Resources Management, Chulalongkorn University. All Rights Reserved.

ไอคอน PDPA

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

เราจะใช้คุกกี้เมื่อท่านได้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ โดยคุกกี้ที่จำเป็นต่อการทำงานของเว็บไซต์ ท่านไม่สามารถปิดการใช้งานของคุกกี้ประเภทนี้ผ่านระบบของเว็บไซต์ได้ สำหรับคุกกี้เพื่อการวิเคราะห์ เก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ เพื่อพัฒนาเว็บไซต์และเพิ่มประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ที่จำเป็นคือสิ่งที่สำคัญสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ ทำให้คุณสามารถใช้งานและเรียกดูเว็บไซต์ได้ตามปกติ คุณไม่สามารถปิดการใช้งานคุกกี้เหล่านี้ในระบบของเว็บไซต์ของเราได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน เพื่อให้เราสามารถวัดผล ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาเว็บไซต์ของเรา เพื่อเพิ่มประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน

บันทึกการตั้งค่า